บทความ

10 คำคม

คำคมเกี่ยวกับภาษา/การเรียน/การทำงาน 1. ภาษาคือเครื่องมือการสื่อสาร ไม่ใช่เครื่องวัดความฉลาด 2. แค่มีคำศัพท์ คุณก็พูดได้แล้ว  3. ฟังพูดมาก่อนอ่านเขียนเสมอ 4. ความสำเร็จมักมาหลังความล้มเหลวเสมอ 5. ผู้ที่มีความรักในความรู้จะสนุกกับการเรียนรู้เสมอ  6. ภาษาคือ ทุกอย่างที่สามารถสื่อสารให้เกิดความเข้าใจได้ 7. โครงสร้างเชิงกลยุทธ์ขององค์กรก็แค่ตัวหนังสือ ควรดูผู้นำและทีมบริหารเป็นหลักว่ามีธรรมาภิบาลและมีกึ๋นในการบริหารคนมากน้อยแค่ไหน 8. พรสวรรค์ไม่มีจริง ทุกอย่างต้องฝึกฝนอย่างหนักเสมอ  9. การจำที่ดีที่สุดคือ การฝึกใช้มันให้บ่อยดีสุด 10. ภาษาเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา  11. ภาษาคือ เครื่องมือ ส่วนการสื่อสารคือ วิธีการ

Comparatives ในรูปโครงสร้าง as ... as พื้นฐาน

รูปภาพ
Comparatives 3 แบบพื้นฐาน คือ 1. S + be (is, am, are, was, were) as + adjective + as ...      I'm as rich as him.      She isn't as nice (to everyone) as she used to be.      The weather this summer is not as bad as last year. เราสามารถใช้ adverbs คือ nearly หรือ quite ในรูปปฏิเสธของ not as...as ได้ กลายเป็น not quite/nearly as ... as เช่น      Learning English is not quite as easy as learning German.      Learning English is not nearly as easy as learning German. เราสามารถใช้ ... as adverb as ... เช่น      He didn't drive as fast as he usually does.      She speaks English as fluently as she can. 2. S + V + as much + uncount noun + as ...      My parents give me as much freedom as they can.      He didn't have as much money as I expected.      My sister makes as much money as I do. 3. S + V + as many + plural noun + as ...      I have as many friends as you.      Kasetsart University has as many buildings as Chulalongkorn University.      There weren't as many vis

8 วิธีการสร้างคำในภาษาอังกฤษพื้นฐาน (Basic English Word Formation)

รูปภาพ
  ในภาษาอังกฤษมีวิธีการสร้างคำมากมาย แต่ขอสรุปวิธีการสร้างคำพื้นฐานจากหนังสือ Contemporary Linguistics: An Introduction (3rd Edition) โดย O’Grady, W., Michael D., and Aronoff M. (1997) ดังนี้  1. Derivation คือ การสร้างคำโดยยึดจากรากศัพท์ หนังสือบางเล่มใช้คำว่า Affixiation หมายถึง การสร้างคำโดยการเติมคำเข้าไปที่รากศัพท์เดิม  คำเติม (Affix) นั้นมี 2 แบบ คือ 1. การเติมหน้าคำ หรืออุปสรรค (Prefix) และ 2. การเติมหลังคำ หรือปัจจัย (Suffix) เข้าไปที่ตัวรากศัพท์เดิม (Root) เช่น  un-count-able = uncountable แปลว่า ซึ่งไม่สามารถนับได้   มาจาก  Un- = prefix / count = root / -able = suffix  2. Compounding = การสร้างคำโดยการนำคำ 2 คำ มาผสม/รวมกัน จนกลายเป็น 1 คำ เช่น nation + wide  = nationwide / spoon + fed = spoonfed เป็นต้น  พวก Compounding สามารถเขียนได้ 3 แบบ ขึ้นอยู่กับรูปแบบของคำนั้น ๆ เป็นหลัก ( เช่น คำว่า check-in ไม่นิยมเขียนแบบนี้ checkin มักมีเครื่องหมายขีดระหว่างคำเสมอ เพื่อเลี่ยงความสับสน เช่น คำว่า Inter-course (มีเครื่องหมายขีดกลาง Inter-course =International course)กับ Interco

10 สถิติน่ารู้เกี่ยวกับ Everest (10 records set on Everest that you may not know)

รูปภาพ
พอดีวันนี้ผมเจอบทความเกี่ยวกับ Everest จากหนังสือ National Geographic เลยขอนำสถิติที่น่าสนใจเกี่ยวกับ Everest มาแชร์ต่อดังนี้ 1. พฤษภาคม 1953 - Edmund Hillary ชาวนิวซีแลนด์ และ Tenzing Norgay ชาวเนปาล เป็นสองคนแรกที่พิชิต Everest ทางด้าน South Face ได้สำเร็จ โดยทั้งสองเดินทางไปด้วยกันจนถึงจุดสูงสุดของ Everest  * Tenzing Norgay เคยปืน Everest ก่อนหน้านั้น 6 ครั้ง แต่ไม่ได้ไปถึงจุดยอดสูงสุดของ Everest จริง ๆ เนื่องจากสภาพอากาศและอุบัติเหตุของสมาชิกทีมของเขา ก่อนที่เขาจะทำสำเร็จในวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ค. 2496 พร้อมกับ Edmund Hillary ในครั้งที่ 7  * Tenzing Norgay เป็นไกด์ของ Edmund Hillary ในการพิชิต Everest คนส่วนใหญ่จะพูดชื่อ Edmund Hillary มากกว่า และมักเข้าใจว่าเขาเป็นคนแรกคนเดียว (ถือว่าพูดถูกแค่ 50%) เพราะอาจจะมองข้าม Tenzing Norgay ไป เพราะ Tenzing Norgay นั้นเป็นไกด์เจ้าถิ่น ส่วน Edmund Hillary นั้นเสมือนเป็นลูกค้า/ลูกทัวร์ ก่อนที่ต่อมาจะเป็นเพื่อนสนิทกัน อย่างไรก็ตาม ถ้าจะพูดให้ถูกต้อง 100% ก็ต้องนับ Tenzing Norgay รวมเข้าไปด้วย ถือว่าพวกเขาทั้งสองคนเป็นสองคนแรกของโลกที่พิชิต Evere

จับจุดอ่อนของ Informality (ความไม่เป็นทางการในการใช้ภาษาพื้นฐาน)

รูปภาพ
เวลาเขียนงานที่เป็นทางการ ให้นิสิตเลี่ยง 9 ข้อหลักพื้นฐานเหล่านี้ เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นจุดสังเกตให้รู้ว่าไม่เป็นทางการ (Informality) ห้ามใช้ 9 ข้อนี้ในการเขียนงานวิชาการ 1.  ตัวย่อ/คำย่อ  Abbreviations = ATM / A cronyms = NASA  อ.เคยอธิบายความแตกต่างระหว่าง Abbreviation กับ Acronym ในลิงก์นี้: https://thaweesakchanpradit.blogspot.com/2020/11/acronym-abbreviation.html 2.  คำศัพท์ที่ไม่เป็นทางการ    Vocabulary = buy – purchase  ส่วนใหญ่คำศัพท์ที่ไม่เป็นทางการจะเป็นคำสั้น ๆ และมีรากศัพท์มาจาก Anglo-Saxon *ในขณะที่คำศัพท์ที่เป็นทางการจะเป็นคำศัพท์ยาว ๆ และมีรากศัพท์ส่วนใหญ่มาจาก Latin และ Greek ดูเพิ่มเติม: https://www.engvid.com/english-resource/formal-informal-english/ 3. พวก Contractions = I’m (I am) / we’re / we’ve   4. การตัดคำออก   Leaving words out   4.1 If a fault is found, we will give you a full refund. = If fault found, will give you full refund   4.2 Do you want to go out this evening? = Want to go out this evening?  5. การใช้ภาษาแบบตรง ๆ  Direct language = It’s a mistake

To be more than meets the eye หมายความว่าอะไร?

รูปภาพ
To be more (to something) than meets the eye เป็นสำนวนภาษาอังกฤษ (Idiom) มีความหมายเฉพาะ ซึ่งไม่สามารถแปลตรงตัวได้  อย่างสำนวนนี้ To be more (to something) than meets the eye ตามพจนานุกรม Cambridge Dictionary ให้ความหมายว่า If there is more to something than meets the eye, it is more difficult to understand or involves more things than you thought at the beginning. = ถ้ามีอะไรบางอย่างที่เป็นมากกว่าที่ตาเห็น แสดงว่ามันยากที่จะเข้าใจ หรือมีอะไรหลายอย่างที่ซ่อนอยู่มากกว่าที่เราคิดตั้งแต่แรก หรือมีสิ่งที่แอบแฝง/ซ่อนอยู่ที่ต้องศึกษาอย่างละเอียด ตัวอย่างเช่น The painting of Mona Lisa  has been interpreted differently since its first display in 1500. It's more than meets the eye. 

Reported Speech

รูปภาพ