บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2016

กระบวนการสร้างคำในพระนามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

รูปภาพ
กระบวนการสร้างคำในพระนามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร  โดยพระมหาสันติราษฎร์ ฌานสนฺติ (ป.ธ. 9 / พธ.ม. (ภาษาศาสตร์) / กำลังเรียน ป.เอก)  วัดจักรวรรดิราชาวาส วรมหาวิหาร กทม ที่มา: https://www.facebook.com/profile.php?id=100003798513737&fref=nf&pnref=story คำว่า "มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรากูร" เป็นคำยืมบาลี-สันสกฤต มหาวชิราลงฺกรณราชา [บาลี] มีทั้งหมด 8 หน่วยคำ *หน่วยที่เล็กที่สุดที่มีความหมายในภาษา สร้างโดยวิธีการสมาสคำ สนธิคำ ลงปัจจัย และลงวิภัตติ [มหา+วชิร+อลํ+กร+ยุ[อณ]+อิว+ราช+สิ] ระหว่าง มหา + วชิร = มหาวชิร (2 morphemes/หน่วยคำ) เป็นวิธีการสมาสคำ [บาลี] วิเคราะห์ว่า มหนฺตํ วชิรํ มหาวชิรํ มหนฺตมูลํ วา วชิรํ มหาวชิรํ. [บทขยายอยู่หน้า ประธานอยู่หลัง เรียก วิเสสนบุพพบท กัมมธารย]. เพชรอันใหญ่ หรือมีมูลค่าสูง ชื่อว่า มหาวชิระ. ระหว่าง อลํ + กร + ยุ = อลงฺกรณ (3 morphemes/หน่วยคำ) เป็นวิธีการสนธิ และลงปัจจัย (suffix) [บาลี] มาจาก อลํ + กร = อลงฺกร [อาเทสหรือแปลงนิคคหิตเป็น งฺ], อลงฺกร + ยุ = อลงฺกรณ [ยุ ปัจจัยลงหลัง กฺร ธา...

Qualitative & Classifying Adjectives

รูปภาพ
ก่อนอื่นทำความเข้าคำว่า Classifying Adjectives คำว่า Classifying หมายถึง จำแนกประเภท คำว่า Adjective หมายถึง คุณศัพท์ รวมความแล้วคือ คุณศัพท์จำแนกประเภท เป็นประเภทหนึ่งของ Attributive Adjectives  และตรงกันข้ามกับ Qualitative Adjectives ลองดูความแตกต่างระหว่าง Classifying Adjective กับ Qualitative Adjective ด้านล่างนี้  Classifying Adjective ไม่สามารถจัดเกรด (Non-gradable) ไม่มีในรูปของ Comparative และ Superlative *ในขณะที่ Qualitative Adjective สามารถจัดเกรดได้ และมีในรูป Comparative และ Superlative  คำว่า ไม่สามารถจัดเกรด (Non-gradable) คือ ไม่สามารถใช้ Grading adverb ได้ คำว่า จัดเกรดได้ (Gradable) คือ  สามารถใช้ Grading adverb ได้ Grading adverb คือตัวมาขยายคุณศัพท์ให้รู้ว่ามาก หรือ น้อย หรือค่อนข้างมาก หรือค่อนข้างน้อย เช่น very / rather / extremely / a little / hugely เป็นต้น    * Classifying Adjectives คือคุณศัพท์จำแนกประเภท ยกตัวอย่างคำว่า British หมายถึงเกี่ยวกับคนอังกฤษ คือจำแนกประเภทชัดเลยว่า เกี่ยวกับคนอังก...

ภาพประทับใจในร่มผ้ากาสาวพัสตร์ (ตอน 1)

รูปภาพ

Journal-related note of English language teaching

รูปภาพ
As an English teacher, I have been developing myself by searching for grammar-related journals, books, materials and other stuff involved to read and shape my thinking of how to teach students English grammar effectively. Fortunately, I found lots of journals in need, but I decided to pick up the most interesting one, entitled  Grammar and Grammaring: Towards Modes for English Grammar Teaching in China,  for my free-time reading to apply something that I've read to be as a means of my English language teaching.    The journal I mentioned above emphasizes the two methods of teaching Chinese students English, referring to linguistics and storytelling, despite the fact that there are many different English teaching methods being applied in different contexts such as Grammar-Translation Method, Audio-Lingual Method, Grammar Consciousness Raising Method, Interactional Feedback Approach, Discourse-based Teaching, Task-based Grammar Teaching, Output Tasks Communicat...

A short note of Thailand 4.0

รูปภาพ
The Thai government's initiative of Thailand 4.0 model places importance on how to get Thailand out of the long standing traps regarding middle income, inequality, and imbalance. To overcome these traps, the Govt has been trying to direct Thailand to a better, richer and brighter place by relying on what it calls "Engines of Growth" consisting of 1) Productive Growth Engine, 2) Inclusive Growth Engine and 3) Green Growth Engine.  First, Productive Growth Engine is designed to make Thailand a high income country by the application of new technology, creation, knowledge and innovation. Second, Inclusive Growth Engine is aimed to offer people rights, income distribution, opportunities and stability. Third, Green Growth Engine is expected to build national stability, raise awareness of economic development and encourage to use eco-friendly technology & environmental resources.         Resource:  http://www.bangkokbanksme.com/articl...

Grammar: conditionals

รูปภาพ
Conditionals คือประโยคเงื่อนไข มี 4 แบบหลักๆ คือ 1. Zero conditional          2. First conditional 3. Second conditional     4. Third conditional 1. Zero conditional   - เราจะใช้รูปแบบนี้ก็ต่อเมื่อเรา ต้องการจะพูดถึงความเป็นจริงทั่วไปที่เป็นจริงตลอดกาลไม่ว่าจะอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต  โครงสร้างคือ If + present simple, present simple ตัวอย่างเช่น 1. If you exercise every day, your health is strong.  2. If you walk in the rain, you get wet.  3. If you don't eat dinner, you get angry.  2.  First conditional  -  เราจะใช้รูปแบบนี้ก็ต่อเมื่อเราต้องการจะพูดถึงเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตที่เป็นจริงได้ (future true situations) จากเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติให้เป็นจริงได้ โครงสร้างคือ If + present simple, will + infinitive  ตัวอย่างเช่น 1. If you don't hit the books, you will get poor grades. 2. If the sky is clear, we will go out for a bite. 3. Second conditional  -  เราจะใช้รูปแบบนี้ก็ต่อเ...

Grammar: talking about age

รูปภาพ
ในภาษาอังกฤษเรามีวิธีพูดเกี่ยวกับอายุหลายวิธี วิธีที่เราเห็นบ่อยๆคือ -   be followed by a number, and sometimes years old after the number.  - คือเราใช้ตัวเลขหลัง v. to be หรือบางครั้งใส่คำว่า years old หลังจากตัวเลข เช่น เวลาเราเจอคำถามที่ว่า How old are you? เราสามารถตอบได้ 2 แบบหลักๆ คือ I am 20. รูปแบบนี้ดูเหมือนจะสั้นและเข้าใจง่ายดี เป็นการใส่ตัวเลขคือ 20 หลัง v. to be คือ am ซึ่งในหลักไวยากรณ์ยังสามารถที่จะใส่คำว่า years old หลังตัวเลขได้ด้วย มันจะช่วยให้ชัดขึ้น จึงเป็น I am 20 years old. กลายเป็นรูปแบบที่สอง  ในกรณีที่ผู้ถาม ถามอายุเพื่อนเราอีกคนหนึ่ง ซึ่งเราไม่มั่นใจว่าเขาอายุ 20 หรือ 21 แต่เราคิดว่าเขาน่าจะประมาณ 21 เราสามารถใช้คำจำพวก about / approximately /over / under / above / below เพื่อบอกอายุแบบประมาณเอา ภาษาอังใช้คำว่า Talking about approximate age เช่น ผู้ถามถามว่า How old is he? เราตอบว่า He is about 21. หรือ He is about 21 years old. หรือ He is about twenty-one years old. หรือ He is about twenty-one. สังเกตว่าผมเลือกใช้...